เรื่องเสียง...ต้อง Sony Sound Forge
ผู้เขียน: พุฒิพงศ์ วงศ์สว่าง
ISBN: 978-974-7234-75-6
จำนวนหน้า: 336 หน้า
ขนาด: 14.5 x 21 x 1.8 ซม.
รูปแบบหนังสือ:
พิมพ์ 4 สี
ราคาปก: 299 บาท
ราคาสั่งซื้อ: 260 บาท
คู่มือเรียนรู้เทคนิคการตัดต่อเสียงจากสุดยอดโปรแกรมที่คุณต้องทึ่ง!
หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับใครบ้าง
- ผู้ที่ต้องการเรียนรู้การตัดต่อเสียงขั้นพื้นฐานขึ้นไป
- ผู้ที่ต้องการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านเสียง
จะอ่านหนังสือเล่มนี้ควรรู้อะไรมาก่อนบ้าง
- วิธีใช้งานระบบ Windows 2000/XP/Vista
จะทดลองปฏิบัติตามเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ ต้องมีะไรบ้าง
- เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ซีพียู Pentium 500MHz ขึ้นไป, มีหน่วยความจำไม่ต่ำกว่า 128 MB และมีพื้นที่ว่างในฮาร์ดดิสก์อย่างน้อย 150 MB
- โปรแกรม Microsoft .Net Framework 1.1 และ SP 1
- โปรแกรม Sony Sound Forge (ดาวน์โหลดเวอร์ชันทดลองใช้งานได้ที่ http://mediasoftware.sonypictures.com)
บทนำ รู้จักกับ Sony Sound Forge
- มีอะไรใหม่ในเวอร์ชัน 9.0
บทที่ 1 ควรรู้ก่อนการทำงานกับเสียง
เริ่มต้นกับความรู้ต่างๆ ที่เพื่อนๆ จำเป็นต้องรู้ ไม่ว่าจะเป็นประเภทของไฟล์เสียงชนิดต่างๆ ขั้วต่อสัญญาณแบบพิมพ์นิยม หรือแม้แต่ความรู้เรื่องการเลือกใช้ Sound Card ตลอดจนการปรับแต่งเครื่องคอมฯ ตัวโปรดให้แกร่งขึ้น
- ประเภทของไฟล์เสียง
- 1. ประเภท WAVE
- 2. ประเภท MP3
- 3. ประเภท CDA
- 4. ประเภท MIDI
- 5. ประเภท OGG
- 6. ประเภท AC3
- 7. ประเภท WMA (Windows Media Audio)
- 8. ประเภท AIFF
- 9. ประเภท Spectral Band Replication (SBR)
- แนะนำให้รู้จักกับขั้วต่อสัญญาณชนิดต่างๆ (ที่นิยมใช้กัน)
- ขั้วต่อที่เป็นแบบ TRS และ TS
- ขั้วต่อประเภท RCA
- ขั้วต่อประเภท XLR
- รู้จักกับ Soundcard
- ไฟเฟดขึ้น / เสียง VO
- Soundcard ที่อยากแนะนำ
- Soundcard QuataFire 610
- Soundcard E-MU 1820M
- Soundcard Waveterminal 192 M
- Soundcard Waveterminal 192 L
- Soundcard Terratec DMX6 fire
- Soundcard Terratec Aureon 7.1 Space
- Soundcard Terratec PHASE 88
- การปรับแต่งและอัดพลังให้คอมพิวเตอร์สำหรับงานดนตรี
- การจัดระเบียบฮาร์ดดิสก์
- การเปิดใช้งานฟังก์ชั่น DMA
- การปิดฟังก์ชัน Visual Effect
- การปิดการใช้งาน Screen Saver
- การเพิ่มความเร็วในการสตาร์ตเครื่อง
- มาปิดฟังก์ชันการอัปเดตอัตโนมัติกัน
- การกำหนดความสำคัญให้กับโปรแกรม
บทที่ 2 ติดตั้งโปรแกรม Sony Sound Forge
ไม่มีอะไรจะอธิบายได้ดีเท่ากับคำว่า "การติดตั้งโปรแกรมครับ"
- เครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นต่ำที่โปรแกรมต้องการ
- การติดตั้งโปรแกรม Sony Sound Forge
- การลงทะเบียนใช้งานโปรแกรม Sony Sound Forge
บทที่ 3 เริ่มใช้ Sony Sound Forge
ในบทนี้เพื่อน ๆ จะได้รู้จักกับ Sony Sound Forge ตั้งแต่แรกแย้มไปจนถึงการใช้งานของโปรแกรมเลยครับ
- หน้าต่างการทำงานของโปรแกรม
- รู้จักกับปุ่มเครื่องมือต่างๆ บน Standard Toolbar
- รู้จักกับปุ่มควบคุมการทำงานต่างๆ บน Transport Toolbar
- หน้าต่างไฟล์เสียง
- การเปิดไฟล์มาใช้งาน
- การนำเข้าไฟล์เสียงจาก CD Audio
- การจัดเรียงหน้าต่างของโปรแกรม Sony Sound Forge
- ตัวอย่างการจัดเรียงหน้าต่างของโปรแกรม Sony Sound Forge
- การย้ายหน้าต่างการทำงานใหม่
- การ Copy และการ Paste ไฟล์เสียง
- การ Copy ข้อมูลไฟล์เสียง
- การ Paste ข้อมูลไฟล์เสียง
- การวางข้อมูลแบบทั่วไป
- การวางข้อมูลไฟล์เสียงที่หน้าต่างไฟล์งานใหม่
- การวางข้อมูลไฟล์เสียงด้วยคำสั่ง Replicate
- การ Cut และ Delete
- การ Cut
- การ Delete
- การฟังเสียงใน Clipboard
- การลบข้อมูลเสียงในช่วงที่ไม่ต้องการออกไป
- การกำหนดตำแหน่งของเส้นเคอร์เซอร์
- การเลือกฟัง Channel ของไฟล์เสียง
- การ Mix เสียง
- การ Crossfade ไฟล์เสียง
- การใช้งาน Maker
- การแก้ไข Maker
- การใช้งาน Region
- การสร้าง Region แบบ Auto Region
- การ Play ฟังเสียงที่อยู่ใน Region
- การใช้งานหน้าต่าง Region
- การใช้งานหน้าต่าง Playlist
- การสร้างไฟล์จากหน้าต่าง Playlist
- การแก้ไขเสียงให้กับไฟล์ภาพวีดีโอ
- การจัดเรียงหน้าต่างไฟล์เสียง
บทที่ 4 การบันทึกเสียง
สั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความครับ "เรียนรู้เรื่องการบันทึกเสียงลงคอมพิวเตอร์"
- รายละเอียดของหน้าต่าง Record
- การบันทึกเสียงจากไมโครโฟน
- การบันทึกเสียงแบบการตั้งเวลา
- การบันทึกเสียงแบบ Punch-In
- การบันทึกเสียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้รีโมต
บทที่ 5 การตกแต่งไฟล์เสียง
เนื้อหาในบทนี้จะว่าด้วยเรื่องการใช้ Effect ของโปรแกรม Sony Sound Forge ในการตกแต่งไฟล์เสียง ในแบบฉบับที่เราต้องการ รับรองว่า "แจ่ม" ครับ
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Auto trim/crop
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Bit-depth converter
- การแต่งเสียงด้วย Channal converter
- การตกแต่งเสียงด้วย EQ
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วยการ Fade
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Insert Silence
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Insert/Flip
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Mute
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Normalize
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Pan/Expand
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Resample
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Reverse
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Smooth/Enhance
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Time Stretch
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Volume
บทที่ 6 การใส่ Effect ให้กับเสียง
เนื้อหาต่อเนื่องจากบทที่ 5 ครับ คือ หลังจากที่เพื่อนๆ ได้ตกแต่งเสียงจนโดนใจแล้ว บทนี้จะว่าด้วยเรื่องการใช้งานในส่วนของ Effect ว่าแต่ละตัวจะทำให้เสียงของเราเปลี่ยนไปในลักษณะไหนกันบ้าง หนุกหนาน หนุกหนาน ครับ
- การใส่ Plug-in Effect
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Chorus
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect delay/echo
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Distortion
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect dynamic
- ทำความรู้จักกับหน้าต่าง Plug-in chainer
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Envelope
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Flange/wah-wah
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Gapper/Snipper
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Noise Gate
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Pitch
- การปรับต่างเสียงด้วย Effect Reverb
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Vibrato
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect wave Hammer
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Acoustic Mirror
บทที่ 7 การตกแต่งไฟล์เสียงและใส่ Effect ให้เสียงภาคพิเศษ
ส่วนบทนี้เป็นบทพิเศษครับ ต่อจากบทที่แล้ว อยากรู้ว่าพิเศษยังไง เปิดอ่านก่อนเลยก็ได้ครับ จะได้สบายใจ
- การตกแต่งไฟล์เสียงด้วย Dc Offset
- การปรับแต่งเสียงด้วย Effect Amplitude Modulation
บทที่ 8 การใช้งาน Plug-in Effect จากภายนอก
นอกจากจะมี Effect ภายในตัวของโปรแกรมเองแล้ว เพื่อนๆ ยังสามารถติดตั้ง Plug-in Effect จากภายนอกเพิ่มเข้าไปในโปรแกรม เพื่อตกแต่งหรือแก้ไขไฟล์เสียงได้อีกด้วย วี้ด ว้าย ว้าว กระตู้ฮู้
- การติดตั้ง Plug-in Effect จำพวก Direct X
- การเรียกใช้งาน Plug-in Effect จากภายนอก
- การติดตั้ง Plug-in Effect จำพวก VST plug-in
- วิธีการตั้งค่าให้โปรแกรมมองเห็น VST Plug-in
- การเรียก VST Plug-in ขึ้นมาใช้งาน
- การลบ VST plug-in และ Direct X ที่ไม่ต้องการออกจากไฟล์เสียง
- การ Save Effect ไว้เป็น Preset ส่วนตัว
- การใช้งาน Sony Preset Manager
บทที่ 9 การสร้างเสียง Sound Effect แปลกประหลาด
มาสร้างเสียงแปลกๆ แหวกแนวเก็บไว้ใช้เองกันเถอะ มามะ! มาจอยกัน จอยกัน
- การสร้างเสียงกดปุ่มโทรศัพท์
- การสร้างเสียงหวูดเรือ
- การสร้างเสียงซ่าของโทรทัศน์
บทที่ 10 การแปลงไฟล์และการเขียนแผ่น CD Audio
บทสุดท้ายนี้จะว่าด้วยเรื่องการแปลงไฟล์เสียงไปอยู่ในรูปแบบอื่นๆ เพื่อใช้งานได้ตามความต้องการ ตลอดจนการเขียนแผ่นซีดีเพลงเพื่อเอาไว้ฟังกับคนพิเศษหรือไม่พิเศษก็ได้
- การแปลงไฟล์เสียงให้เป็นไฟล์ MP3
- การแปลงไฟล์เสียงให้เป็นไฟล์ WMA
- การแปลงไฟล์เสียงให้เป็นไฟล์ Ogg
- การแปลงไฟล์แบบเข้ารหัสเป็น Mpeg
- การแปลงไฟล์แบบเข้ารหัสเป็น Mpeg-1
- การแปลงไฟล์แบบเข้ารหัสเป็น Mpeg-2
- กรณีที่ไม่สามารถแปลงไฟล์เป็น Mpeg 1-2 ได้
- การแปลงไฟล์ภาพวีดีโอเป็น WMV
- การใส่ข้อมูลต่างๆ ให้กับไฟล์
- หัวข้อพิเศษ การใช้โปรแกรมแปลงไฟล์ภายนอก ร่วมกับโปรแกรม Sony Sound Forge
- การเขียนแผ่น CD Audio
- การแปลงไฟล์ด้วยฟังก์ชัน Batch Converter