ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วย OrCAD
ผู้เขียน: ธนันต์ ศรีสกุล
ISBN: 978-616-7897-20-2
จำนวนหน้า: 280 หน้า
ขนาด: 16.5 x 19 x 1.3 ซม.
รูปแบบหนังสือ:
หนังสือขาวดำ
ราคาปก: 175 บาท
ราคาสั่งซื้อ: 160 บาท
- เรียนรู้การออกแบบและจำลองการทำงานของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น...
- สัญญาณ Frequency Domain (โดเมนทางความถี่)
- สัญญาณ Time Domain (โดเมนทางเวลา)
- วงจร Bias BJT, C & L และ Schmitt Trigger
- วงจรที่ใช้ไอซีเบอร์ AD633 และ CD4016B
- วงจรมอดูเลตสัญญาณ AM, PWM และ Hartley-OSC
- วงจร LPF 3, HPF 3, BPF และ BRF
- วงจร DVCC, Log amp และ Rectifier Circuit
หนังสือเล่มนี้ใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาอะไรบ้าง
- การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ความถี่สูง
- การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์
- ...และยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นๆ ได้
หนังสือเล่มนี้เหมาะกับใคร
- นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และปริญญาตรี สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์, คอมพิวเตอร์, เทคโนโลยีโทรคมนาคม และไฟฟ้า
- บุคคลทั่วไปที่สนใจในงานทางด้านการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ควรรู้อะไรมาบ้างก่อนอ่านหนังสือเล่มนี้
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้งานเครื่องพีซีหรือเครื่องโน้ตบุ๊ก
ต้องมีอะไรบ้างเพื่อทดลองทำตามเนื้อหาในหนังสือ
- เครื่องพีซีหรือโน้ตบุ๊ก
- โปรแกรม OrCAD
บทที่ 1 รู้จักโปรแกรม OrCAD
- ประวัติความเป็นมาของ OrCAD
- ดาวน์โหลดโปรแกรมจากที่ไหนและต้องมีอะไรบ้าง
- ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม
- การใช้งานโปรแกรม OrCAD เบื้องต้น
- ตัวอย่างการวิเคราะห์วงจรด้วยโปรแกรม OrCAD
บทที่ 2 ดูลักษณะการทำงานของวงจรในรูปแบบ Frequency Domain
- วิธีเลือกใช้การวิเคราะห์วงจรแบบ AC Sweep
- วิเคราะห์วงจรแบบไฟสลับ
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 3 ดูลักษณะการทำงานของวงจรในรูปแบบ Time Domain
- วิธีเลือกใช้การวิเคราะห์วงจรแบบ Time Domain
- วิเคราะห์วงจรแบบ Time Domain
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 4 ออกแบบวงจรไบแอสทรานซิสเตอร์
- ออกแบบวงจรไบแอสทรานซิสเตอร์ แบบที่ 1
- ออกแบบวงจรไบแอสทรานซิสเตอร์ แบบที่ 2
- ออกแบบวงจรไบแอสทรานซิสเตอร์ แบบที่ 3
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจรแบบที่ 3
บทที่ 5 ศึกษาลักษณะการทำงานของตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ
- คุณสมบัติของตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ
- การหาค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจรแบบ Time Domain
บทที่ 6 ออกแบบวงจร Schmitt Trigger
- วงจร Schmitt Trigger แบบไม่กลับเฟส
- ตัวอย่างการออกแบบวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
- วงจร Schmitt Trigger แบบกลับเฟส
- ตัวอย่างการออกแบบวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
- วงจร Schmitt Trigger แบบปรับค่าได้
- ตัวอย่างการออกแบบวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 7 ออกแบบวงจรขยายสัญญาณกระแสและวงจรขยายสัญญาณแรงดัน
- วงจรขยายสัญญาณกระแส
- ตัวอย่างการคำนวณวงจร
- ทดสอบวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
- วงจรขยายสัญญาณแรงดัน
- ทดสอบวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 8 ออกแบบออปแอมป์
- ดูกราฟคุณลักษณะของออปแอมป์ที่เป็นเชิงเส้น
- ดูผลการตอบสนองทางความถี่ (Frequency response)
- ดูลักษณะสัญญาณของวงจรเพื่อหาอัตราขยายแรงดัน
บทที่ 9 ออกแบบวงจร Pulse Width Modulation
- หลักการทำงานของวงจร
- สมการที่ใช้ในการคำนวณหาค่าต่างๆ ของวงจร
- ตัวอย่างการออกแบบวงจร
- ทดสอบวงจร
บทที่ 10 ออกแบบวงจรที่ใช้ไอซี CMOS Bilateral Switch
- หลักการทำงานของวงจรกำเนิดสัญญาณควบคุมด้วยแรงดัน
- ตัวอย่างการออกแบบวงจรและทดสอบวงจร
- ทดสอบวงจรกำเนิดสัญญาณควบคุมด้วยแรงดัน
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 11 ออกแบบวงจรผลิตความถี่แบบ Hartley
- หลักการทำงานของวงจรผลิตความถี่
- ทดสอบวงจรผลิตความถี่แบบ Hartley
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 12 ออกแบบวงจรกรองความถี่
- หลักการทำงานของวงจรกรองตความถี่
- ดูผลการตอบสนองทางความถี่ของวงจรกรองความถี่ต่ำ ผ่านอันดับ 3
- ดูผลการตอบสนองทางความถี่ของวงจรกรองความถี่สูง ผ่านอันดับ 3
บทที่ 13 ออกแบบวงจรกรองความถี่แบบความถี่ผ่านและวงจรกำจัดความถี่
- ดูผลตอบสนองทางความถี่ของวงจรกรองความถี่ผ่าน
- ทดสอบผลของวงจรกรองความถี่ผ่าน
- ดูผลการตอบสนองทางความถี่ของวงจรกำจัดความถี่
บทที่ 14 ออกแบบวงจร DVCC
- พื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบวงจร Differential Voltage to Current Converter
- ทดสอบการทำงานของวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 15 ออกแบบวงจร Logarithmic Amplifiers
- พื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบวงจร Logarithmic Amplifiers
- ตัวอย่างการคำนวณและออกแบบวงจร
- วิเคราะห์ผลการทำงานของวงจร
บทที่ 16 ออกแบบวงจร Rectifier Circuit
- วงจรแหล่งจ่ายไฟตรงแบบครึ่งคลื่น
- ทดสอบวงจรแหล่งจ่ายไฟตรงแบบครึ่งคลื่น
- วงจรแหล่งจ่ายไฟตรงแบบเต็มคลื่น
- ทดสอบวงจรแหล่งจ่ายไฟตรงแบบเต็มคลื่น