เริ่มคิด+เริ่มสร้าง+เริ่มใช้ Mind Map
ผู้เขียน: กฤษณะ ภักดีพงษ์
ISBN: 978-616-7119-42-7
จำนวนหน้า: 280 หน้า
ขนาด: 16.5 x 19 x 1.4 ซม.
รูปแบบหนังสือ:
หนังสือขาวดำ
ราคาปก: 195 บาท
ราคาสั่งซื้อ: 170 บาท
- 3 โปรแกรมสร้าง Mind Map ยอดนิยม
- FreeMind เครื่องมือฟรีที่เขียนแผนที่ความคิดได้ครบเครื่อง
- MindManager เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนและทำงาน
- iMindMap รับรองโดย “โทนี่ บูซาน” บิดาแห่งแผนที่ความคิด
- คำตอบสำหรับผู้ที่ต้องการใช้ Mind Map เพื่อ...
- ปลดปล่อยพลังความคิดและจินตนาการ
- เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้และจดจำ
- จดบันทึกด้วยเทคนิคที่คนเก่งเลือกใช้
- เพิ่มประสิทธิภาพทั้งการเรียนและการทำงาน
หนังสือเล่มนี้เหมาะกับใครบ้าง?
- นักเรียน นักศึกษา คนทำงาน รวมถึงผู้ที่สนใจศึกษาเพื่อประยุกต์ใช้แผนที่ความคิด
- ผู้ที่สนใจการสร้างแผนที่ความคิดด้วยคอมพิวเตอร์
จะอ่านหนังสือเล่มนี้ ต้องมีทักษะหรือความรู้อะไรมาก่อนบ้าง?
- มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์
- มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ต
จะทดลองทำตามขั้นตอนที่อธิบายในหนังสือ ต้องมีอะไรบ้าง?
- เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
- โปรแกรมต่างๆ ทั้ง FreeMind, MindManager และ iMindMap ที่แนะนำวิธีใช้อยู่ในหนังสือเล่มนี้
Part 1 : แผนที่ความคิด
บทที่ 1 แผนที่ความคิด เครื่องมือเพิ่มความสามารถในการเรียนรู้
แนะนำ Mind Map หรือแผนที่ความคิด เครื่องมือแห่งการเพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ บันทึก และจดจำ รู้จักประวัติความเป็นมารวมถึงการนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นพื้นฐานก่อนศึกษาส่วนอื่นๆ ต่อไป
- แผนที่ความคิดคืออะไร
- ต้นกำเนิดของแผนที่ความคิด
- ประโยชน์ของแผนที่ความคิด
- แนวโน้มความนิยมในปัจจุบัน
- แผนที่ความคิดในประเทศไทย
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานในการสร้างแผนที่ความคิด
ศึกษาพื้นฐานและกฎเกณฑ์ทั่วไปในการสร้างแผนที่ความคิดให้เข้าใจ พร้อมด้วยตัวอย่าง รวมไปถึงข้อดี-ข้อเสียของการวาดแผนที่ความคิดด้วยมือและคอมพิวเตอร์ เพื่อการเลือกใช้ให้เหมาะสม สะดวก รวดเร็ว
- รู้จักกับสมองซีกซ้ายและซีกขวา
- มาจดบันทึกด้วยแผนที่ความคิด
- ข้อกำหนดพื้นฐานของการสร้างแผนที่ความคิดที่ควรรู้
- ทิศทางการอ่านและการสร้างแผนที่ความคิด
- เทคนิคเกี่ยวกับการสร้างแผนที่ความคิด
- การวาดแผนที่ความคิดด้วยมือ
- ข้อดีข้อเสียและเครื่องมือในการวาดแผนที่ความคิดด้วยมือ
- สรุปขั้นตอนการวาดแผนที่ความคิดด้วยมือ
- การวาดแผนที่ความคิดด้วยคอมพิวเตอร์
- ข้อดีข้อเสียและเครื่องมือในการวาดแผนที่ความคิดด้วยคอมพิวเตอร์
- สรุปขั้นตอนการวาดแผนที่ความคิดด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 การนำแผนที่ความคิดไปใช้ในด้านต่างๆ
ตัวอย่างการนำแผนที่ความคิดไปใช้ในระดับต่างๆ เช่น ระดับบุคคลทั่วไป ใช้ในการศึกษา ใช้ในแวดวงธุรกิจการทำงาน เพื่อให้เห็นภาพรวมของการนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน
- การใช้แผนที่ความคิดระดับบุคคล
- ตัวอย่างการใช้แผนที่ความคิดเขียนเรื่องเกี่ยวกับตัวเอง
- ตัวอย่างการใช้แผนที่ความคิดวางแผนกิจกรรมประจำสัปดาห์
- การใช้แผนที่ความคิดในระดับการศึกษา
- ตัวอย่างการใช้แผนที่ความคิดมาช่วยในการสรุปเนื้อหาบทเรียน
- ตัวอย่างการใช้แผนที่ความคิดเพื่อวางแผนการทำโครงงานกลุ่ม
- การนำแผนที่ความคิดไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจองค์กร
- ตัวอย่างการใช้แผนที่ความคิดเป็นเครื่องมือวิเคราะห์กลยุทธ์
- ตัวอย่างการใช้แผนที่ความคิดเป็นเครื่องมือนำเสนอในที่ประชุม
Part 2 : โปรแกรม FreeMind
บทที่ 4 รู้จักกับโปรแกรม FreeMind
ทำความรู้จักโปรแกรม FreeMind ซึ่งเป็นเครื่องมือสำหรับสร้างแผนที่ความคิดที่ดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรี ความต้องการของระบบ รวมถึงขั้นตอนการดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรมลงเครื่องคอมพิวเตอร์
- มาทำความรู้จักกับโปรแกรม FreeMind
- จุดเด่นของโปรแกรม FreeMind
- สเป็กเครื่องคอมพิวเตอร์และความต้องการของระบบ
- การดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรม FreeMind
- ติดตั้ง Java Runtime Environment
- ติดตั้งโปรแกรม FreeMind
บทที่ 5 เริ่มต้นใช้ FreeMind
หลังจากที่ติดตั้ง FreeMind เรียบร้อยแล้ว บทนี้เป็นการเรียนรู้คำสั่งการใช้งานพื้นฐานที่ต้องรู้ เช่น การเปิดโปรแกรม การบันทึก การใช้เครื่องมือช่วยเหลือ เป็นต้น ก่อนลงมือสร้างแผนที่ความคิดจริง
- เปิดโปรแกรม FreeMind ขึ้นมาใช้งาน
- ส่วนประกอบของโปรแกรม FreeMind
- การใช้งานคำสั่งต่างๆ เบื้องต้น
- การสร้างไฟล์แผนที่ความคิดขึ้นมาใหม่
- การเปิดไฟล์แผนที่ความคิด
- การบันทึกไฟล์แผนที่ความคิด
- การบันทึกไฟล์แผนที่ความคิดเดิมในชื่ออื่นๆ
- การปิดไฟล์แผนที่ความคิด
- การปิดโปรแกรม
- เครื่องมือช่วยเรียนรู้โปรแกรม FreeMind
บทที่ 6 เทคนิคการใช้งาน FreeMind
ลงมือสร้างสรรค์แผนที่ความคิดของเราด้วย FreeMind ตั้งแต่การสร้างเส้นความคิด ตกแต่งแผนที่ความคิดให้มีความสมบูรณ์ การทำงานกับไฟล์อื่นๆ รวมถึงการส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเพื่อนำไปใช้งานในด้านต่างๆ
- สร้างแผนที่ความคิด
- การสร้างหัวข้อความคิด
- การสร้างเส้นความคิดหลัก
- สร้างเส้นความคิดรองและเส้นความคิดย่อย
- การซ่อน/แสดงเส้นความคิด
- การทำงานกับข้อความ
- เปลี่ยนชนิดของแบบอักษร
- เปลี่ยนขนาดตัวอักษร
- วิธีการทำให้ข้อความเป็นตัวหนา
- วิธีการทำให้ข้อความเป็นตัวเอียง
- วิธีการจัดรูปแบบข้อความที่มีความยาวให้เป็นระเบียบ
- วิธีการเปลี่ยนสีให้กับข้อความบนแผนที่ความคิด
- การใส่สีพื้นหลังข้อความ
- การตกแต่งแผนที่ความคิด
- การใส่ไอคอนรูปภาพ
- การใส่ไฟล์รูปภาพ
- การเปลี่ยนรูปแบบของเส้นความคิด
- การเปลี่ยนสีและสไตล์ของเส้นเชื่อมโยงความคิด
- เปลี่ยนสีเส้นเชื่อมโยงความคิด
- เปลี่ยนสไตล์ของเส้นเชื่อมโยงความคิด
- การจัดกลุ่มและเชื่อมโยงความคิดใน FreeMind
- ใส่ก้อนเมฆแสดงการจัดกลุ่มความคิด (Cloud)
- การเปลี่ยนสีก้อนเมฆ
- การสร้างการเชื่อมโยงไฟล์แผนที่ความคิดแบบต่างๆ
- การเชื่อมโยงกับไฟล์เอกสาร
- การเชื่อมโยงกับเว็บไซต์หรืออีเมล
- การสร้างเส้นเชื่อมโยงระหว่างข้อความในแผนที่ความคิด
- การทำงานร่วมกับไฟล์ชนิดอื่นๆ
- การนำไฟล์แผนที่ความคิดไปใช้บนอินเทอร์เน็ต
- การนำไฟล์แผนที่ความคิดมาแสดงแบบรูปภาพ
Part 3 : โปรแกรม MindManager
บทที่ 7 รู้จักกับโปรแกรม MindManager
แนะนำโปรแกรม MindManager ที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง มีความสามารถในการสร้างสรรค์แผนที่ความคิดได้เป็นอย่างดี รวมถึงขั้นตอนการดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรมเพื่อทดลองใช้งาน
- มาทำความรู้จักกับโปรแกรม MindManager
- จุดเด่นของโปรแกรม MindManager
- สเป็กเครื่องคอมพิวเตอร์และความต้องการของระบบ
- การดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรม MindManager
- ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม
- ตัวอย่างแผนที่ความคิดที่วาดด้วย MindManager
บทที่ 8 เริ่มต้นใช้ MindManager
ในบทนี้จะเป็นการทำความคุ้นเคยกับส่วนประกอบของโปรแกรม เรียนรู้การใช้คำสั่งพื้นฐานต่างๆ เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยก่อนลงมือสร้างแผนที่ความคิด เช่น การสร้างไฟล์ใหม่ การเปิดไฟล์ การบันทึกไฟล์
- เปิดโปรแกรม MindManger ขึ้นมาใช้งาน
- ส่วนประกอบของโปรแกรม MindManager
- การใช้งานคำสั่งต่างๆ เบื้องต้น
- เปิดไฟล์ใหม่ขึ้นมาใช้งาน (New)
- การเปิดไฟล์แผนที่ความคิด (Open)
- การบันทึกไฟล์แผนที่ความคิด (Save)
- การบันทึกไฟล์แผนที่ความคิดเดิมในชื่ออื่นๆ (Save As)
- การปิดไฟล์แผนที่ความคิด (Close)
- การออกจากโปรแกรม (Exit)
- การใช้งานแม่แบบ Template
- การปรับแต่งโปรแกรม
- เครื่องมือช่วยเหลือ (Help)
บทที่ 9 เทคนิคการใช้งาน MindManager
สอนการสร้างแผนที่ความคิดด้วย MindManager การทำงานกับมุมมองต่างๆ การตกแต่งแผนที่ความคิดให้มีความสมบูรณ์ การส่งออกไฟล์ที่ได้ให้เป็นไฟล์ประเภทต่างๆ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
- การสร้างแกนกลางหัวข้อความคิด
- การสร้างหัวข้อความคิดหลักและหัวข้อรอง
- การทำงานกับมุมมองต่างๆ
- มุมมองแผนที่ความคิด (Map View)
- มุมมองโครงสร้าง (Outline View)
- มุมมองตารางแกนต์ชาร์ต (Gantt Chart View)
- มุมมองสไลด์ (Slides View)
- มุมมองการเชื่อมโยง (Linked Maps View)
- มุมมอง Walk Through
- การทำงานกับข้อความ
- วิธีเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
- วิธีทำให้ตัวอักษรเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้ข้อความ
- การทำงานกับรูปภาพและไอคอน
- วิธีแทรกรูปภาพ
- การใช้งาน Library
- การตกแต่งและสร้างจุดเชื่อมโยงความคิด
- สร้างกรอบล้อมรอบกิ่งแผนที่ความคิด (Boundary)
- การสร้างหัวข้อความคิดอิสระ (Floating Topic)
- การสร้างกรอบข้อความพูด (Callout Topic)
- การสร้างเส้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างหัวข้อ (Relationship)
- การสร้างบันทึกย่อ (Notes)
- การแทรกหมายเหตุ (New Comment)
- สร้างการเชื่อมโยงไฟล์แผนที่ความคิด
- เชื่อมโยงแผนที่ความคิดเข้ากับเว็บไซต์
- การเชื่อมโยงกันระหว่างหัวข้อภายในแผนที่ความคิด
- การเชื่อมโยงแผนที่ความคิดกับไฟล์เอกสารใหม่
- การเชื่อมโยงแผนที่ความคิดกับอีเมล
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นไฟล์ชนิดอื่นๆ
- ขั้นตอนการส่งออกไฟล์แผนที่ความคิด
- ขั้นตอนการส่งออกไฟล์เป็นไฟล์เอกสาร PDF
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นไฟล์ Mindjet Player PDF หรือ SWF
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นไฟล์รูปภาพ
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นไฟล์บีบอัด
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นไฟล์ PowerPoint
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นไฟล์ Microsoft Word
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นเว็บเพจ
- การพิมพ์แผนที่ความคิด
- ตัวอย่างการสั่งพิมพ์แผนที่ความคิด
บทที่ 10 สร้าง Gantt Chart และพรีเซนเทชัน
ใช้ MindManager สำหรับการวางแผนและควบคุมกิจกรรม เช่น โครงการต่างๆ รวมไปถึงการใช้เป็นเครื่องมือสำหรับนำเสนอแผนที่ความคิด และใช้ในการระดมสมอง
- การใช้มุมมอง Gantt Chart สำหรับวางแผนและควบคุมกิจกรรม
- การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม
- ใช้มุมมอง Slide View เพื่อสร้างสไลด์แผนที่ความคิดแบบง่ายๆ
- การสร้างสไลด์จากแผนที่ความคิด
- การเปลี่ยนชื่อแผ่นสไลด์
- เรียกดูสไลด์แบบเต็มจอ
- การใช้ Walk Through สำหรับนำเสนอแผนที่ความคิด
- เทคนิคการใช้โปรแกรม Mind Manager ในการระดมสมอง (Brainstorm)
- การเตรียมการและกำหนดขอบเขตการระดมสมอง
- ขั้นตอนการระดมความคิดด้วย MindManager
Part 4 : โปรแกรม iMindMap
บทที่ 11 รู้จักกับโปรแกรม iMindMap
แนะนำโปรแกรม iMindMap ที่ได้รับการรับรองจาก “โทนี่ บูซาน” บิดาแห่งแผนที่ความคิด ขั้นตอนการดาวน์โหลดและติดตั้งตัวทดลองมาใช้งานในคอมพิวเตอร์ของเรา
- มาทำความรู้จักกับโปรแกรม iMindMap
- จุดเด่นของโปรแกรม iMindMap
- ความต้องการของระบบ
- การดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรม iMindMap
- การดาวน์โหลด
- การติดตั้งโปรแกรม iMindMap ลงคอมพิวเตอร์
- ตัวอย่างแผนที่ความคิดที่วาดด้วย iMindMap
บทที่ 12 เริ่มต้นใช้ iMindMap
รู้จักหน้าตาและส่วนประกอบต่างๆ ของ iMindmap การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรมด้วยคำสั่งพื้นฐาน เช่น การสร้างไฟล์ใหม่ การเปิดไฟล์ การบันทึกไฟล์ หรือแม้แต่การใช้เครื่องมือช่วยเหลือ
- เปิดโปรแกรม iMindMap ขึ้นมาใช้งาน
- ส่วนประกอบของโปรแกรม iMindMap
- การใช้งานคำสั่งต่างๆ เบื้องต้น
- สร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมาใช้งาน (New)
- การเปิดไฟล์แผนที่ความคิด (Open)
- การบันทึกไฟล์แผนที่ความคิด (Save)
- การบันทึกไฟล์แผนที่ความคิดเดิมในชื่ออื่นๆ (Save As)
- การบันทึกไฟล์แผนที่ความคิดเพื่อใช้เป็นแม่แบบ (Save As Template)
- การปิดไฟล์แผนที่ความคิด (Close)
- การออกจากโปรแกรม (Exit)
- ปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม
- ตัวเลือก แสดง (Appearance)
- ตัวเลือก แฟ้ม (Files)
- ตัวเลือก Map อัตโนมัติ (AutoMap)
- ตัวเลือก อินเทอร์เน็ต (Internet)
- ตัวเลือก ตั้งค่าภาษา (Language Settings)
- ตัวเลือก จิปาถะ (Miscellaneous)
- ตัวเลือก แบบก้าวหน้า (Advanced)
- เครื่องมือช่วยเหลือ (Help)
บทที่ 13 เทคนิคการใช้งาน iMindMap
สอนการลงมือสร้างแผนที่ความคิดด้วย iMindMap ตั้งแต่การสร้างเส้นความคิด การตกแต่งแผนที่ความคิดให้มีความสมบูรณ์ จนกระทั่งการส่งออกเป็นไฟล์ประเภทต่างๆ
- การสร้างแกนกลางหัวข้อความคิด
- การสร้างหัวข้อความคิดหลักและหัวข้อความคิดรอง
- การวาดเส้นความคิดแบบอิสระและแบบกล่องข้อความ
- การวาดเส้นความคิดด้วยคำสั่งวาดด้วยมือ
- การวาดเส้นความคิดด้วยคำสั่งกิ่งกล่อง
- การทำงานกับมุมมองต่างๆ
- การทำงานกับข้อความ
- การเปลี่ยนรูปแบบและขนาดตัวอักษร
- การเปลี่ยนข้อความเป็นตัวหนาตัวเอียง
- การเปลี่ยนสีของเส้นกิ่งและข้อความ
- การตกแต่งแผนที่ความคิด
- การแทรกรูปภาพและไอคอน
- การสร้างบันทึกย่อ
- การสร้างลูกศรแสดงความสัมพันธ์
- การสร้างกรอบล้อมรอบกิ่งความคิด
- การแทรกรูปภาพและข้อความอิสระ
- การใช้เครื่องมือวาดรูปภาพ
- การเชื่อมโยงแผนที่ความคิดเข้ากับไฟล์ประเภทต่างๆ (Hyperlink)
- ส่งออกไฟล์แผนที่ความคิดเป็นไฟล์ชนิดอื่นๆ
- การส่งออกเป็นไฟล์ภาพ
- การส่งออกเป็นไฟล์ PDF
- การส่งออกเป็นเว็บเพจ
- การส่งออกเป็นไฟล์เอกสาร
- การส่งออกเป็นไฟล์ PowerPoint
- การพิมพ์แผนที่ความคิด
บทที่ 14 ประยุกต์ใช้ iMindMap เพื่อพรีเซนเทชันและบริหารโครงการ
มารู้จักวิธีการใช้ iMindMap สำหรับการบริหารโครงการ และใช้เป็นเครื่องมือสำหรับนำเสนอ (Presentation) แผนที่ความคิดที่มีประสิทธิภาพ
- การใช้ iMindMap เป็นเครื่องมือในการนำเสนอแผนที่ความคิด
- ขั้นตอนการวางแผนการนำเสนอ
- ขั้นตอนการนำเสนอแผนที่ความคิดด้วย iMindMap
- เครื่องมือควบคุมการนำเสนอ
- เครื่องมือปรับแต่งการนำเสนอแผนที่ความคิด
- การใช้ iMindMap สำหรับบริหารโครงการ
- ตัวอย่างการสร้าง Gantt Chart ในโหมดบริหารโครงการ
- การบริหารและควบคุมกิจกรรม
- ปรับปรุงและอัปเดตความก้าวหน้าของกิจกรรมเป็นเปอร์เซ็นต์
- การเพิ่ม/ลบและแก้ไขกิจกรรม
ภาคผนวก ก ตัวอย่างแผนที่ความคิดกับกิจกรรมต่างๆ
ภาคผนวก ข แนะนำเว็บไซต์เกี่ยวกับ Mind Map
ภาคผนวก ค แนะนำซอฟต์แวร์สร้างแผนที่ความคิดอื่นๆ
FAQ คำถามที่พบบ่อย